วันอังคารที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2562

การดําเนินงานตามมาตรฐานศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

การดําเนินงานตามมาตรฐานศูนยพัฒนาเด็กเล็กในองค์การบริหารสวนตำบล เหล่าดอกไม้อําเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม Implementation of the standard child development centers. In Lao Dok Mai Sub-district Administrative Organization, Chuen Chom District Mahasarakham Province
พัชรินทร์ชิณเฮือง 1 , ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วรวิทย์จินดาพล 2
1 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2 อาจารย์ที่ปรึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา worawit.ch@ssru.ac.th
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการดําเนินงานตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในองค์การบริหารส่วนตําบลเหล่าดอกไม้อําเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม 2) เปรียบเทียบผลการ ดําเนินงานตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในองค์การบริหารส่วนตําบลเหล่าดอกไม้อําเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม ตามความคิดเห็นของผู้บริหารท้องถิ่น , ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 1 และผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 2 โดยจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริหารท้องถิ่น จํานวน 14 คน ครูผู้ดูแลเด็ก จํานวน 32 คน, ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 1 จํานวน 23 คนและผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 2 จํานวน 22 คน กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางเครจซี่ และมอร์แกน ตรวจสอบความเที่ยงตรงความครอบคลุมของเนื้อหา พบว่าได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ได้ = 0.67- 1.00 และนําข้อมูลไป Try Out เพื่อหาความเชื่อมั่นจํานวน 30 คน ประมวลผล ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม ด้วย t-test ทดสอบเปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากร 3 กลุ่มขึ้นไปด้วยวิธี F-test วิเคราะห์ค่าความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี LSD และทดสอบหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตามด้วยวิธี Correlate ผลการศึกษาพบว่า 1. ระดับการดําเนินงานตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในองค์การบริหารส่วนตําบลเหล่า ดอกไม้อําเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย ด้าน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยลําดับสูงสุด คือ ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร รองลงมาคือ ด้าน บริหารจัดการ 2. ผลการเปรียบเทียบการดําเนินงานตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในองค์การบริหารส่วน ตําบลเหล่าดอกไม้อําเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม ตามความคิดเห็นของผู้บริหารท้องถิ่นครูผู้ดูแลเด็ก การประชุมวิชาการเสนอผลงานวจิัยระดบชาต ั และนานาชาต ิ ิครั้งที่ 8 “Research 4.0 Innovation and Development SSRU’s 80th Anniversary” 1645 ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 1 และผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 2 โดยจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ผู้บริหารท้องถิ่น ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 1 และผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 2 ที่มีเพศ, ระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการดําเนินงานตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ใน องค์การบริหารส่วนตําบลเหล่าดอกไม้อําเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม โดยภาพรวมและรายด้านไม่ แตกต่างกัน ส่วน ผู้บริหารท้องถิ่น ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล 1 และผู้ปกครองเด็กชั้น อนุบาล 2 ที่มีตําแหน่งหน้าที่การงานต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการดําเนินงานตามมาตรฐานศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก โดยภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการบริหารจัดการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คําสําคญั : การดําเนินงาน มาตรฐานศนยู ์พัฒนาเด็กเล็ก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ABSTRACT The purposes of the research were 1) to study the operational standards child development center of local administrative In Lao Dok Mai Sub-district Administrative Organization,ChuenChom District Mahasarakham Province. 2) to compare the opinion of local administrators, teachers working for early childhood development center, parents from Kindergarten 1 and Kindergarten 2 by personal factors. The samples were 14 local administrators, 32 teachers working for early childhood development center, 23 parents from Kindergarten 1 and 22 parents from Kindergarten 2.The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. Survey the accuracy with content validity, Index of Consistency (IOC) at over 0.67 - 1.00. And 30 samples (Try Out) were tested for the validity and reliability of the content. The results were analyzed with computer. The Statistics used were percentage, means, standard deviation, T-test for variable two groups and F-test for variable three groups, analysis least Significant difference (LSD) and the relationship between the dependent variable and the independent variable and the correlation coefficient. The results were as follows: 1. The overall management of the child development centers in Lao Dok Mai Sub-district Administrative Organization,ChuenChom District Mahasarakham Province. Was at a high level. When considering each aspect found that the highest level average was of academic and curriculum activities, the next aspect was of management. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวจิัยระดบชาต ั และนานาชาต ิ ิครั้งที่ 8 “Research 4.0 Innovation and Development SSRU’s 80th Anniversary” 1646 2. The operational comparative results found that local administrators, teachers working for early childhood development center, parents from Kindergarten 1 and Kindergarten 2 had no difference in their opinion on sex and education background of as a whole and each aspect. Considering it by a whole aspect, working experience was found significantly different at the .05 level and by each aspect, management was found significantly different at the .05 level. Key word: Operational Standards, Child Development Center, Local administrators

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

sirikul