วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2562




Abstract: Title
การดำเนินงานตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแห่งชาติ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม
Title Alternative
OPERATIONS OF NATIONAL CHILD CARE CENTERS OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS UNDER NAKAE DISTRICT NAKHON PHANOM PROVINCE

Creator
Name: นภสร โสมศรีแพง

Address: สาขาการบริหารการศึกษา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

Organization : มหาวิทยาลัยนครพนม
Subject
keyword: การดำเนินงานตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแห่งชาติ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ThaSH: การดำเนินงานตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแห่งชาติ

Classification :.DDC: 305.231
Description
Abstract: บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการดา เนินงานตามมาตรฐานศูนย์เด็ก เล็กแห่งชาติ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม (2) เปรียบเทียบการ ดำ เนินงานตามมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอนาแก จังหวัด นครพนม จำแนกตามสถานภาพ และประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารท้องถิ่นและครูผู้ดูแล เด็ก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดย การใช้ตารางสา เร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 121 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารท้องถิ่น จำนวน 25 คน และครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน 96 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีการ สุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.32 – 0.89 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ สมมติฐานโดยใช้t-test (Independent samples) และ F-test (One-way ANOVA) \ ผลการศึกษาค้นคว้า พบว่า 1. การดา เนินงานตามมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใน อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับ มากทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้ดังนี้ ด้านคุณภาพเด็ก ด้านการบริหารจัดการศูนย์ เด็กเล็กและด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 2. ผลการเปรียบเทียบการดา เนินงานตามมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม จำแนกตามสถานภาพ ระหว่างผู้บริหาร ท้องถิ่นและครูผู้ดูแลเด็ก โดยรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้บริหารท้องถิ่น และครูผู้ดูแลเด็ก มีการดา เนินงานตามมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ แตกต่างกันอย่างมีระดับ นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จำนวน 2 ด้าน คือ (1) ด้านการบริหารจัดการศูนย์เด็กเล็ก โดยผู้บริหาร ท้องถิ่น มีการดำเนินงานมากกว่าครูผู้ดูแลเด็ก และ (2) ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริม พัฒนาการเด็ก โดยครูผู้ดูแลเด็ก มีการดา เนินงานมากกว่าผู้บริหารท้องถิ่น 3. ผลการเปรียบเทียบการดำเนินงานตามมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ในอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม จำแนกตามประสบการณ์ ระหว่างประสบการณ์ต่ำกว่า 5 ปี 5-10 ปี และมากกว่า 10 ปี พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน

Abstract: ABSTRACT The purposes of this study were (1) to examine operations on national child care centers of local administrative organizations under Nakae District, Nakhon Phanom Province and (2) to compare operations its classified by status and work experience. The sample used were local administrators and teachers of care centers of local administrative organizations under Nakae District, Nakhon Phanom Province including 25 local administrators and 96 teachers using Stratified Random Sampling. The instrument used was a five rating scale questionnaire with the discrimination value between 0.32 - 0.89 and its reliability of 0.90. Statistics employed were percentage, mean, standard deviation, t-test (Independent samples) and F-test (One-way ANOVA). The results were as follows: 1. The operations on national child care centers of local administrative organizations under Nakae District, Nakhon Phanom Province were at the high level both in overall and individual aspects. The highest average aspect was the quality of children. The lowest average aspect was the learning process to promote child development. 2. The comparisons of its operations classified by status were not different. Considering in each aspect, they were significantly different at .01 level. The aspect of child care center administration, those of local administrators were higher than those of child care teachers. The aspect of learning process management to promote child development, those of child care teachers were higher than those of local administrators. 3. The comparisons of its operations classified by work experience wrer not different both in overall and individual aspects.
Publisher
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม

Address: นครพนม


RightsAccess:


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

sirikul